ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์

ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์

ชาวจีนในประมาณ 2600 ปี ก่อนคริสตกาลได้เป็นคนประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการคำนวณ ขึ้นมา เรียกว่า ลูกคิด (Abacus)ซึ่งถือได้ว่าเป็นต้นกำเนิดของเครื่องคำนวณและคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2185 นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ BlaisePascal ได้ออกแบบเครื่องช่วยในการคำนวณโดยใช้หลักการหมุนของฟันเฟือง
พ.ศ. 2337 กอดฟริด ฟอนไลบ์นิช (Gottfriedvon Leibniz)ชาวเยอรมันได้ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีขีดความสามารถสูงสามารถคูณและหารได้ บุคคลผู้หนึ่งที่มีบทบาทสำคัญต่อการผลิตเครื่องจักรคำนวณคือชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ชาวอังกฤษ ในปีพ.ศ. 2343เขาประสบความสำเร็จสร้างเครื่องคำนวณ ที่เรียกว่า Differenceengine ต่อมา
ในปีพ.ศ.2439 ฮอลเลอริชได้จดทะเบียนก่อตั้งบริษัทเพื่อผลิตจำหน่ายเครื่องจักรช่วยในการคำนวณชื่อ บริษัท คอมพิวติง เทบบูลาติงเรดคอสดิง หลังจากนั้นในปีพ.ศ.2467 ได้เปลี่ยนมาเป็นชื่อบริษัทไอบีเอ็ม (International BusinessMachine: IBM)
แนวคิดในการประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์ของแบบเบจนั้นก้าวหน้ามากโดยเฉพาะแนวคิดทางด้านการใช้โปรแกรมควบคุมการทำงานโดยอัตโนมัติแบบเบจได้ริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับการใช้คำสั่งเลือกแบบมีเงื่อนไขเครื่องวิเคราะห์ที่แบบเบจวิเคราะห์ขึ้นอาจกล่าว ได้ว่าเป็นแนวคิดเดียวกับการทำงานของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันแต่แบบเบจก็ไม่สามารถสร้างเครื่องวิเคราะห์นี้ให้เป็นจริงได้เนื่องจากเป็นความคิดที่ล้ำยุคเกินไปจึงทำให้ ไม่มีช่างฝีมือคนใดสามารถผลิตฟันเฟืองต่างๆ ตามที่เขาต้องการได้แบบเบจถึงแก่กรรมก่อนที่จะได้ทราบว่าแนวคิดของเขานั้น สามารถเป็นจริงได้ในเชิงไฟฟ้าไม่ใช่เชิงกล แบบเบจจึงได้รับสมญานามว่า เป็นบิดาแห่งคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์แบ่งเป็นกี่ยุด อะไรบ้าง

ยุคแรก อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1945 ถึง ค.ศ. 1958(พ.ศ.2488ถึง พ.ศ.2501) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบหลอดสุญญากาศซึ่งใช้กำลังไฟฟ้าสูง มีปัญหาเรื่องความร้อนของหลอดสุญญากาศจึงทำให้ไส้ของหลอดขาดบ่อยการสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดใหญ่โตเช่น มาร์ค วัน (MARK I) อีนิแอค (ENIAC) ,ยูนิแวค, (UNIVAC)

คอมพิวเตอร์ยุคที่สองอยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1959 ถึงค.ศ. 1963 (พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506)หรือที่เรียกว่า คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบทรานซิสเตอร์ โดยมี แกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำใช้อุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็กโดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาเขียนเป็นประโยคที่คนสามารถเข้าใจได้เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็นต้น

คอมพิวเตอร์ยุคที่สามอยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1964 ถึงค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512)เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit: IC)ประมาณปี พ.ศ. 2508 ได้มีการพัฒนาสร้างทรานซิสเตอร์จำนวนมากลงบนแผ่นซิลิกอนขนาดเล็ก และเกิดวงจรรวมบนแผ่นซิลิกอนที่เรียกว่า ไอซีการใช้ไอซีเป็นส่วนประกอบทำให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงเรียกว่า มินิคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1969 จนถึงปัจจุบันเป็นของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large ScaleIntegration: VLSI) ทำให้ขนาดเครื่องมีขนาดเล็กระบบซอฟต์แวร์ก็ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก

คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้นโดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่างๆเข้าไว้ในเครื่องสามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง

 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพคีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆตามลักษณะการทำงาน ได้ หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (InputUnit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit :CPU)  หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง(Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน

ในความเป็นจริงแล้ว ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เราเห็นๆกันอยู่นี้เป็นเพียงองค์ประกอบส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์เท่านั้นแต่ถ้าต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามที่เราต้องการนั้นจำเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบพื้นฐาน ประการมาทำงานประสานงานร่วมกันซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย

ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 
ซอฟต์แวร์ (Software) 
บุคลากร (Peopleware) 
ข้อมูล (Data)

ซอฟต์แวร์ (Software)  หมายถึงอุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพคีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆตามลักษณะการทำงาน ได้ หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (InputUnit)หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit :CPU)  หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง(Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน ดังภาพ

 
บุคลากร (Peopleware)  หมายถึงส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม)เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลยซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 
1. ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software)

คือชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุดเพื่อคอยควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่างและอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งานซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูงเช่น ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เป็นต้นนอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน

2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (ApplicationSoftware)

คือซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่มำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้นซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น ประเภท คือ

2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้านคือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ บางที่เรียกว่า User’sProgram เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อโปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไขหรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ หรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา

2.3 ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไปเป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ ทั่วไปโดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงานและค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องเวลามากในการฝึกและปฏิบัติซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานมราขาดบุคลากรที่มีความชำนาญเป็นพิเศษในการเขียนโปรแกรมดังนั้นการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่างยิ่งตัวอย่างโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, AdobePhotoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น

ที่มาthaigoodview.